เกี่ยวกับฉัน

รูปภาพของฉัน
ผมเป็นเด็กคนหนึ่งที่อาศัยบนโลกใบใหญ่ ๆที่ไม่มีไครู้ได้ว่าโลกนี้จะแตกเมื่อไร เพราะทุกวันนี้มีแต่ความวุ่นวายของสังคม รวมทั้งสภาวะแวดล้อมที่มีแต่ความอันตราย ความน่ากลัว แถมสิ่งที่เสื่อมลงไวที่สุดคือสิ่งแวดล้อมที่โดนมนูษย์ผู้ที่เห็นแก่ตัวคอยแต่ที่จะทำลายไม่มีการฟื้นฟู เพราะฉะนั้นเราเป็นคน ๆหนึ่งที่อาศัยบนโลกคิดได้หรือยังว่าวันนี้จะทำอะไรที่ไม่ให้สิ่งแวดล้อมนั้นเสื่อมไปไวกว่าที่ควรจะเป็น!

วันพุธที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2552

แอสกี้ชือผมคาบ พัช ๆคาบ

ชื่อผมในรูปแบบแอสกี้นะครับ
พัชระ สุรัตนกูล
พัชระ
1011111011010001101010101100001111010000

สุรัตนกูล 110010101101100011000011110100011011010110111001101000011101100111000101



Patchara Surattanakul

Patchara 0101000001100001011101000110001101101000011000010111001001100001

Surattanakul
01010011011101010111001001100001011101000110111001100001011010110111010101101100

วันพุธที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

การพัฒนาทักษะ 5 ด้าน
การพัฒนาการเพื่อให้นักเรียนนักศึกษาทเป็นผู้มี:

1) IQ (Intelligence Quotient ) การพัฒนาให้ผู้เรียน ทักษะกรบวนการคิด กระบวนการเรียนรู้ มีความเฉลียวฉลาดขึ้น ใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง
2) EQ (Emotion Quatient) การพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเองและมีความมั่นคงทางอารมณ์
3)TQ (Technology Quotient) การพัฒนาความคล่องแคล่วในการใช้เทคโนโลยีและรู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีต่าง ๆให้เหมาะสมกับความต้องการ
4) AQ (Adversity Quotient) การพัฒนาทักษะการแก้ไขปัญหาที่ไม่เคยพบมาก่อนและการเผชิญสภาพปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวทันต่อการเปลี่ยนแปลงและทำงานภายใต้สภาวะความกดดันได้
5) MQ(Morality Quotient) ปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรมให้ผู้เรียนมีจิตใจงดงาม รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณีที่ดีและอยู่ในสังคม ความรู้ (Knowledge -based sociaty ) ได้เป็นอย่างดี

วันพุธที่ 3 มิถุนายน พ.ศ. 2552

ตัวอย่างโปรแกรมภาษาซี <ประวัติส่วนตัว>

#include<iostream.h>
#include<conio.h>
main()
{
clrscr();
cout<<"My name is Mr.Patchara Surattanakul\n";
cout<<"Nickname Pat\n";
cout<<"Age 19 year old\n";
cout<<"Brithday 30\05\1990\n";
cout<<"Addess 19 Yeesan Ampawa Samutsongkhram Thailand\n";
cout<<"I stude Samutsongkhram Technical college\n";
cout<<"Section Information Technology\n";
getch();
return 0;
}
สัปดาห์ที่ 1



อาจารย์สั่งให้เขียน


-อาจารย์สั่งให้เขียนข้อมูลส่วนตัวของนักศึกษา

-ให้นักศึกษาเขียนเรื่องคิดว่าวิชาที่เรียนนี้มีวัตถุประสงค์ใด





สัปดาห์ที่ 2



อาจารย์สั่งให้เขียน


-โปรแกรมท่องเที่ยว

-โปรแกรมชีวิต


อาจารย์สอนเรื่อง

-การวิเคราะห์งาน

-อัลกอลิทึม





สัปดาห์ที่ 3



อาจารย์สั่งให้ตรวจงานที่ทำเมื่อสัปดาห์ที่ 2

อาจารย์สั่งให้นำMailไปใส่ที่Bloggerของอาจารย์

อาจารย์สอบนักศึกษาทุกคน

วันพฤหัสบดีที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2552

ความเป็นมาของภาษาซี


ประวัติภาษาซี

ภาษาซีเป็นภาษาที่ถือว่าเป็นทั้งภาษาระดับสูงและระดับต่ำ ถูกพัฒนาโดยเดนนิส ริดชี (Dennis ritche) แห่งห้องทดลองเบลล์ (Bell laboratories) ที่เมอร์รีฮิล มลรัฐนิวเจอร์ซี่ โดยเดนนิสได้ใช้หลักการของภาษา บีซีพีแอล (BCPL : Basic Combine Programming Language) ซึ่งพัฒนาขึ้นโดยเคน ทอมสัน (Ken tomson) การออกแบบและพัฒนาภาษาซีของเดนนิส ริดชี มีจุดมุ่งหมายให้เป็นภาษาสำหรับใช้เขียนโปรแกรมปฏิบัติการระบบยูนิกซ์ และได้ตั้งชื่อว่า ซี (C) เพราะเห็นว่า ซี (C) เป็นตัวอักษรต่อจากบี (B) ของภาษา BCPL ภาษาซีถือว่าเป็นภาษาระดับสูงและภาษาระดับต่ำ ทั้งนี้เพราะ ภาษาซีมีวิธีใช้ข้อมูลและมีโครงสร้างการควบคุมการทำงานของโปรแกรมเป็นอย่างเดียวกับภาษาของโปรแกรมระดับสูงอื่นๆ จึงถือว่าเป็นภาษาระดับสูง ในด้านที่ถือว่าภาษาซีเป็นภาษาระดับต่ำ เพราะภาษาซีมีวิธีการเข้าถึงในระดับต่ำที่สุดของฮาร์ดแวร์ ความสามารถทั้งสองด้านของภาษานี้เป็นสิ่งที่เกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ความสามารถระดับต่ำทำให้ภาษาซีสามารถใช้เฉพาะเครื่องได้ และความสามารถระดับสูง ทำให้ภาษาซีเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์ ภาษาซีสามารถสร้างรหัสภาษาเครื่องซึ่งตรงกับชนิดของข้อมูลนั้นได้เอง ทำให้โปรแกรมที่เขียนด้วยภาษาซีที่เขียนบนเครื่องหนึ่ง สามารถนำไปใช้กับอีกเครื่องหนึ่งได้ ประกอบกับการใช้พอยน์เตอร์ในภาษาซี นับได้ว่าเป็นตัวอย่างที่ดีของการเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร

ภาษาซีเป็นภาษาที่มีลักษณะเด่นพอสรุปได้ดังนี้

- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่มีการพัฒนาขึ้นใช้งานเพื่อเป็นภาษามาตรฐานที่ไม่ขึ้นกับโปรแกรมจัดระบบงานและไม่ขึ้นกับฮาร์ดแวร์

- เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ที่อาศัยหลักการที่เรียกว่า "โปรแกรมโครงสร้าง" จึงเป็นภาษาที่เหมาะกับการพัฒนาโปรแกรมระบบ

- เป็นคอมไพเลอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง ให้รหัสออบเจ็กต์สั้น ทำงานได้รวดเร็ว เหมาะกับงานที่ต้องการ ความรวดเร็วเป็นสำคัญ

- มีความคล่องตัวคล้ายภาษาแอสแซมบลี ภาษาซีสามารถเขียนแทนภาษาแอสแซมบลีได้ดี ค้นหาที่ผิดหรือ แก้โปรแกรมได้ง่าย ภาษาซีจึงเป็นภาษาระดับสูงที่ทำงานเหมือนภาษาระดับต่ำ

- มีความคล่องตัวที่จะประยุกต์เข้ากับงานต่างๆ ได้เป็นอย่างดี การพัฒนาโปรแกรม เช่น เวิร์ดโพรเซสซิ่ง สเปรดชีต ดาตาเบส ฯลฯ มักใช้ภาษาซีเป็นภาษาสำหรับการพัฒนา

- เป็นภาษาที่มีอยู่บนเกือบทุกโปรแกรมจัดระบบงาน มีในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ตั้งแต่ 8 บิต ไปจนถึง 32 บิต เครื่องมินิคอมพิวเตอร์ และเมนเฟรม

- เป็นภาษาที่รวมข้อดีเด่นในเรื่องการพัฒนา จนทำให้ป็นภาษาที่มีผู้สนใจมากมายที่จะเรียนรู้หลักการของภาษา และวิธีการเขียนโปรแกรม ตลอดจนการพัฒนางานบนภาษานี้